วันพฤหัสบดีที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2558

การปกครองประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข

สถานการณ์และปัญหาการเมืองไทย
เป็นชุดเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยอย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน โดยเป็นความขัดแย้งระหว่างกลุ่มการเมือง ซึ่งมีความเห็นต่อต้านและสนับสนุนทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งวิกฤตการณ์ดังกล่าว ...อ่านเพิ่มเติม



การปกครองประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข

การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
ตามที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้จัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่แล้วเสร็จ เพื่อเผยแพร่ให้มีการพิจารณาให้ข้อคิดเห็น เพื่อสภาร่างรัฐธรรมนูญจะได้พิจารณาในขั้นตอนการแปรญัตติก่อนที่จะเป็นร่างรัฐธรรมนูญฉบับที่มีความสมบูรณ์สำหรับให้


การปกครองประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข

ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
 ตามการปกครองระบอบประชาธิปประไตย  อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้น  เป็นการปกครองรูปแบบที่พระองค์จะทรงใช้พระราชอำนาจในฐานะประมุขของรัฐและในฐานะอื่นๆซึ่งเป็นไปตามที่รับธรรมนูญกำหนดไว้ ดังนี้
...อ่านเพิ่มเติม



การปกครองประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข


รัฐ
 กลไกทางการเมืองโดยมีอำนาจอธิปไตยปกครองดินแดนทางภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตและมีประชากรแน่นอน โดยอำนาจดังกล่าวเบ็ดเสร็จทั้งภายในและภายนอกรัฐ ไม่ขึ้นกับรัฐอื่นหรืออำนาจอื่นจาก..อ่านเพิ่มเติม



พลเมืองดี

คุณลักษณะพลเมืองดี

คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น  และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า  มีดังนี้

...อ่านเพิ่มเติม



พลเมืองดี

พลเมืองดี

พลเมืองดี หมายถึง ประชาชนที่ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคมมีความรับผิดชอบต่อ
หน้าที่ ของตนเอง รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมไม่ละเมิดล่วงล้ำสิทธิ
และเสรีภาพของ บุคคลอื่น...อ่านเพิ่มเติม



วัฒนธรรม

การเลือกรับวัฒนธรรมสากล

การเลือกรับวัฒนธรรมต่างชาติ
การเลือกรับวัฒนธรรมนั้น จะต้องพิจารณาได้ตามปัจจัยดังต่อไปนี้
1. วัฒนธรรมนั้นต้องสามารถผสมผสานเข้ากับโครงสร้างทางสังคมทาง ค่านิยมและขนบธรรมเนียมไทย     ได้....อ่านเพิ่มเติม




วัฒนธรรม

ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล

วัฒนธรรมไทยเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นชาติไทย เป็นผลรวมจากความรู้ ความคิด สติปัญญาของมนุษย์ ที่สั่งสมสืบต่อกันมาโดยผ่านการปรับปรุงพัฒนาให้เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยของสังคมไทย ทั้งวัฒนธรรมเดิมของไทยและวัฒนธรรมที่ได้รับอิทธิพลจากชนชาติต่างๆ ซึ่งถูกนำมาปรับปรุง ผสมผสาน และกล่อมเกลาจนเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทยไปในที่สุด....อ่านเพิ่มเติม



วัฒนธรรม

การเปลี่ยนแปลงและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย

สังคมไทยก็เหมือนกับสังคมมนุษย์ทั้งหลายในโลกที่ไม่หยุดอยู่นิ่งๆ หากมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับสังคมอื่นๆ ในระดับเดียวกันแล้ว ก็อาจกล่าวได้ว่า มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจนคนส่วนใหญ่ ในสังคมปรับตัวเองไม่ทัน จนเกิดปัญหาทาง วัฒนธรรมที่ต้องมีการแก้ไขกันตลอดมา ทั้งนี้ก็ เพราะแต่เดิมสังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม ประชาชนส่วนใหญ่อยู่ในชนบทที่มีการทำนา ....อ่านเพิ่มเติม


วัฒนธรรม

วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยได้รับอิทธิพลหลักจากวัฒนธรรมอินเดีย จีน ขอม ตลอดจนวิญญาณนิยม ศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู
วัฒนธรรมแห่งชาติของไทยเป็นการสร้างสรรค์ใหม่ซึ่งสิ่งที่ปัจจุบันถือเป็นวัฒนธรรมไทยเดิมไม่มีอยู่ในรูปแบบนั้นเมื่อกว่าร้อยปีก่อน บ่อเกิดสามารถสืบย้อนไปได้ถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง หลวงพิบูลสงครามสนับสนุนการส่งเสริมวัฒนธรรมไทยกลางเป็นวัฒนธรรมแห่งชาตินิยามและยับยั้งมิให้ชนกลุ่มน้อยแสดงออกซึ่งวัฒนธรรมของตน วัฒนธรรมพลเมืองรุ่นปัจจุบันซึ่งส่วนใหญ่ยึดรุ่นอุดมคติของวัฒนธรรมไทยกลางเป็นการสร้างสรรค์ใหม่ซึ่งรวมลักษณะชาตินิยมสมัยรัชกาลที่ 5 ราชย์กัมพูชา และลัทธิอิงสามัญชนที่นิยมบุคคลลักษณะ หรือสรุปคือ วัฒนธรรมพลเมืองของไทยปัจจุบันนิยามว่าประเทศไทยเป็นดินแดนของคนไทยกลาง มีศาสนาเดียวคือ พุทธนิกายเถรวาท และปกครองโดยราชวงศ์จักรี...อ่านเพิ่มเติม


วัฒนธรรม

วัฒนธรรม

โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม



การเปลี่ยนแแปลงและการพัฒนาทางสังคม

แนวทางการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคม

ประเทศไทยได้มีการกำหนดทิศทางในการพัฒนาประเทศที่ชัดเจนไว้ในแผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งเริ่มตั้งแต่  พุทธศักราช  2504 ในระยะแรกแผนพัฒนาจะเน้นเรื่องเศษฐกิจมากกว่าสังคม และได้มีจุดเปลี่ยนขึ้นในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่  8 
(พ.ศ. 2540-2544)  ที่ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนมากขึ้น  "โดยมุ่งเน้นให้คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา"  
และใช้เศษฐกิจเป็นตัวช่วยพัฒนาให้คนในสังคม มีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น   จนมาถึงฉบับที่  9 ( พ.ศ. 2545-2549 )  ก็ใช้...อ่านเพิ่มเติม




การเปลี่ยนแแปลงและการพัฒนาทางสังคม

ปัญหาสังคม 
หมายถึง สภาวะการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วม กันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้น ...อ่านเพิ่มเติม



การเปลี่ยนแแปลงและการพัฒนาทางสังคม

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม

โลกยุคปัจจุบันกำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเมื่อเปรียบเทียบกับโลกยุคเก่า การเปลี่ยนเข้าสู่โลกยุคใหม่เริ่มขึ้นราวร้อยกว่าปีมานี้ โดยเริ่มจากสังคมตะวันตกแล้วแพร่กระจายไปทั่วโลกในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงในโลกปรากฏขึ้นชัดเจนหลายประการ เช่น...อ่านเพิ่มเติม




วันพฤหัสบดีที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2558

สังคม

ลักษณะทางสังคม

เสถียรโกเศส ให้ความหมายไว้ว่า “มนุษย์ที่รวมกันอยู่เป็นหมู่คณะ ที่มีทั้งหญิงและชาย ตั้งภูมิลำเนาเป็นหลักแหล่ง ณ ที่ใดที่หนึ่งเป็นประจำเป็นเวลานานพอสมควร พอเรียนรู้และปรับปรุงตนเองแต่ละคนได้และประกอบการงานเข้ากันได้ดี มีความสนใจร่วมกันในสิ่งอันเป็นมูลฐานแห่งชีวิต มีการครองชีพ ความปลอดภัยทางร่างกายก็เป็นส่วนหนึ่งของส่วนรวม มนุษย์ที่ร่วมกันเป็นคณะตามเงื่อนไขที่กล่าวมานี้ เรียกว่า “สังคม” ....อ่านเพิ่มเติม